โบสถ์โถง เนื้อหา ประวัติ อ้างอิง ดูเพิ่ม แหล่งข้อมูลอื่น ระเบียงภาพ รายการเลือกการนำทางUse of Church Halls for Village Hall and Other Charitable Purposesพจนานุกรมศัพท์สถาปัตยกรรมคริสต์ศาสนา
สถาปัตยกรรมคริสต์ศาสนสถานส่วนประกอบของสิ่งก่อสร้าง
อังกฤษคริสต์ศาสนสถานทางเดินกลางทางเดินข้างนักประวัติศาสตร์ศิลป์วิลเฮล์ม ลืบค์หน้าต่างชั้นบนกอธิคสถาปัตยกรรมกอธิคพิเศษเยอรมนีเวสต์ฟาเลียอองชูฝรั่งเศสมหาวิหารปัวตีเยมหาวิหารซอลสบรีโถงวัดวัดโถงมหาวิหารปัวติเยร์โปแลนด์โรมาเนีย
(function()var node=document.getElementById("mw-dismissablenotice-anonplace");if(node)node.outerHTML="u003Cdiv class="mw-dismissable-notice"u003Eu003Cdiv class="mw-dismissable-notice-close"u003E[u003Ca tabindex="0" role="button"u003Eปิดu003C/au003E]u003C/divu003Eu003Cdiv class="mw-dismissable-notice-body"u003Eu003Cdiv id="localNotice" lang="th" dir="ltr"u003Eu003Cp class="mw-empty-elt"u003Eu003C/pu003Eu003C/divu003Eu003C/divu003Eu003C/divu003E";());
โบสถ์โถง
ไปยังการนำทาง
ไปยังการค้นหา
วัดโถง (อังกฤษ: Hall church) คือคริสต์ศาสนสถานที่เพดานของทางเดินกลางและทางเดินข้างมีความสูงเท่าๆ กัน ที่มีหลังคาร่วมกันเป็นหลังคาใหญ่หลังคาเดียว คำว่า “Hall church” ใช้เป็นครั้งแรกราวคริสต์ศตวรรษที่ 19 โดยนักประวัติศาสตร์ศิลป์เยอรมันวิลเฮล์ม ลืบค์ (Wilhelm Lübke) [1]
เนื้อหา
1 ประวัติ
2 อ้างอิง
3 ดูเพิ่ม
4 แหล่งข้อมูลอื่น
5 ระเบียงภาพ
ประวัติ
วัดโถงตรงกันกันข้ามกับลักษณะโดยทั่วไปของคริสต์ศาสนสถานอื่นที่เพดานของทางเดินข้างจะต่ำกว่าเพดานของทางเดินกลาง ซึ่งทำให้สามารถสร้างกำแพงที่สูงกว่าเหนือทางเดินข้าง ที่เปิดเป็นหน้าต่างชั้นบนให้แสงส่องลงมายังทางเดินกลางได้ แสงที่เข้ามาในวัดโถงมาจากหน้าต่างด้านข้างที่มักจะสูงพอๆ กับกำแพง
การสร้างวัดทรงนี้มีมาตั้งแต่สมัยโบราณ เช่นที่วัดเซนต์บาโทโลมิวที่พาเดอร์บอร์น (Paderborn) ที่สร้างโดยสังฆราชไมน์เวิร์ค ที่ได้รับการสถาปนาราว ค.ศ. 1017) แต่ลักษณะการก่อสร้างวัดโถงมารุ่งเรืองที่สุดในปลายสมัยกอธิคโดยเฉพาะในสถาปัตยกรรมกอธิคพิเศษ (Sondergotik) ในเยอรมนีโดยเฉพาะในบริเวณเวสต์ฟาเลีย และในบริเวดินแดนอองชูทางตะวันตกของฝรั่งเศส เช่นที่สร้างที่มหาวิหารปัวตีเย การใช้ทรงนี้ที่อื่นก็มีที่สร้างในวัดที่มีขนาดย่อมกว่าเช่นในการสร้างชาเปล หรือการสร้างส่วนหลังของวัด (retrochoir) เช่นที่มหาวิหารซอลสบรีในอังกฤษเป็นต้น
คริสต์ศาสนสถานที่เป็นสถาปัตยกรรมฟื้นฟูกอธิคบางแห่งก็ใช้ผังแบบวัดโถงในการสร้าง โดยเฉพาะในการก่อสร้างแบบสถาปัตยกรรมเยอรมัน ตัวอย่างของคริสต์ศาสนสถานที่ใช้ทรงนี้ก็ได้แก่การสร้างวัดเซนต์ฟรานซิสเดอซาลส์ที่มิสซูรีโดยวิคเตอร์ คลูธโนที่สร้างเสร็จในปี ค.ศ. 1908
คำว่า “วัดโถง” ที่มามีความหมายต่างไปจากเดิมในคริสต์ศตวรรษที่ 20 คือในการใช้ในการก่อสร้างสิ่งก่อสร้างที่มีประโยชน์ใช้สอยหลายอย่าง (multi-purpose building) ที่สามารถย้ายเก้าอี้ออกได้แทนที่จะเป็นม้านั่งที่สร้างอย่างถาวร และบริเวณสงฆ์ที่สามารถกันออกไปได้ด้วยฉาก เพื่อใช้ในการเป็นบริเวณในการทำกิจกรรมของชุมนุมชนได้ระหว่างวันทำงาน ลักษณะนี้เป็นที่นิยมกันโดยเฉพาะในอังกฤษในวัดในเมืองใหญ่ๆ ตั้งแต่คริสต์ทศวรรษ 1960 เป็นต้นมา
“วัดโถง” ต่างจาก "โถงวัด" (Church hall) ซึ่งหมายถึงห้องโถงที่อยู่ภายในวัดที่ใช้ในการทำกิจกรรมของชุมนุมชน[2].
อ้างอิง
↑ Wilhelm Lübke Die mittelalterliche Kunst in Westfalen (1853)
↑ Use of Church Halls for Village Hall and Other Charitable Purposes, Charity Commission, United Kingdom, July 2001.
ดูเพิ่ม
- คริสต์ศาสนสถาน
- แผนผังมหาวิหาร
- สถาปัตยกรรมกอธิค
- ส่วนประกอบของคริสต์ศาสนสถาน
แหล่งข้อมูลอื่น
วิกิมีเดียคอมมอนส์มีสื่อเกี่ยวกับ วัดโถง
- พจนานุกรมศัพท์สถาปัตยกรรมคริสต์ศาสนา
ระเบียงภาพ
ภายในวัดเซนต์วูลฟกังที่ชเนแบร์ก
ภายในวัดประจำเมืองบาดแฮร์สเฟลด์
ภายในมหาวิหารปัวติเยร์
วัดกอธิคโทรุนในโปแลนด์
เพราะความสูงที่เท่ากันทำให้
สามารถมองขึ้นไปเห็นเพดาน
ของทางเดินกลางและ
ทางเดินข้างได้พร้อมกัน
ภายในวัดเซนต์ไมเคิลที่
Cluj-Napoca
โรมาเนีย
หมวดหมู่:
- สถาปัตยกรรมคริสต์ศาสนสถาน
- ส่วนประกอบของสิ่งก่อสร้าง
(window.RLQ=window.RLQ||[]).push(function()mw.config.set("wgPageParseReport":"limitreport":"cputime":"0.144","walltime":"0.210","ppvisitednodes":"value":272,"limit":1000000,"ppgeneratednodes":"value":0,"limit":1500000,"postexpandincludesize":"value":2033,"limit":2097152,"templateargumentsize":"value":365,"limit":2097152,"expansiondepth":"value":8,"limit":40,"expensivefunctioncount":"value":0,"limit":500,"unstrip-depth":"value":0,"limit":20,"unstrip-size":"value":6002,"limit":5000000,"entityaccesscount":"value":1,"limit":400,"timingprofile":["100.00% 180.900 1 -total"," 41.92% 75.840 1 แม่แบบ:คอมมอนส์-หมวดหมู่-บรรทัด"," 24.37% 44.094 1 แม่แบบ:ระวังสับสน"," 21.91% 39.630 1 แม่แบบ:Hatnote"," 7.07% 12.790 1 แม่แบบ:รายการอ้างอิง"," 3.25% 5.874 1 แม่แบบ:Replace"," 2.78% 5.034 1 แม่แบบ:Lang-en"," 2.62% 4.735 1 แม่แบบ:Sister-inline"," 1.67% 3.021 1 แม่แบบ:Main_other"," 1.29% 2.325 1 แม่แบบ:LangWithName"],"scribunto":"limitreport-timeusage":"value":"0.041","limit":"10.000","limitreport-memusage":"value":1829610,"limit":52428800,"cachereport":"origin":"mw1337","timestamp":"20190401170419","ttl":2592000,"transientcontent":false);mw.config.set("wgBackendResponseTime":88,"wgHostname":"mw1320"););